สอนทำเว็บไซต์ชลบุรี|รับทำเว็บไซต์ชลบุรี

โทรปรึกษาฟรีทุกวัน 9.00-18.00 น.

โทร : 0811369563 (แม็ก)

MACDGROUPS

บริการสอนทำเว็บไซต์ด้วยWordpressชลบุรี || รับทำเว็บไซต์

Chutchawal Ninklang

Chutchawal Ninklang

อยากทำเว็บไซต์ของตัวเอง ต้องมีทำอย่างไรบ้าง?

ในการสร้างเว็บไซต์ ส่วนประกอบที่สำคัญคือ 1. ชื่อโดเมน (Domain Name) คือ ชื่อเว็บไซต์ของคุณ เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการบ่งบอก ว่าเว็บไซต์นั้น มีชื่อ อะไร ซึ่งโดยทั่วไป ถ้าเป็นร้านค้าออนไลน์ อาจจะนำ Brand ของคุณมาตั้งเป็น ชื่อโดเมน และ ถ้าเป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับ Portfolio หรือ ประวัติบริษัท แนะนำบริษัท ก็อาจนำชื่อ บริษัท มาตั้งเป็น ชื่อโดเมน ได้ หรือ ถ้าคุณอยากจะเปิดร้านค้าออนไลน์ หรืออยากขายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ท่านก็อาจนำเอาชื่อหลักของสินค้านั้นมาตั้งเป็น ชื่อ domain ได้เหมือนกัน 2. ไฟล์เว็บไซต์ของคุณ ( Source Code Website ) โดยทั่วไปจะเป็นไฟล์นามสกุล htm, html, php, asp, aspx ซึ่ง สำหรับ คนที่ไม่มีความรู้ในการพัฒนาเว็บไซต์ นั้น สามารถหา CMS …

อยากทำเว็บไซต์ของตัวเอง ต้องมีทำอย่างไรบ้าง? Read More »

COURSES-3วัน เรียนทำเว็บไซต์ด้วย WORDPRESS แบบกลุ่ม

WP6-ฺGroups Courses WordPress+Websideอย่างละเอียด ทั้งหมด3วัน เรียนกลุ่มหลักสูตรพื้นฐานจนชำนาญ+เว็บ ราคา 30,000฿ (3ท่านขึ้นไป แต่ไม่เกิน6) เรียนทั้งหมด3วัน ไม่รวมการเดินทาง หากเป็นต่างจังหวัด

เหตุผลที่เปลี่ยนจาก WORDPRESS มาเป็น JOOMLA!

หลายปีที่แล้วนักพัฒนาเว็บไซต์ต่างพากันเลิกใช้จูมล่าและหันไปใช้ WordPress กันแทน ซึ่งขณะนี้ WordPress เป็น CMS (Content Management System) ที่นิยมมากที่สุด WordPress เริ่มต้นจากการเป็นแพลตฟอร์มเฉพาะสำหรับบล็อก แต่มีการเติบโตและพัฒนาขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากการเป็นผู้นำทางซอฟท์แวร์ที่มียอดการติดตั้งนับล้านนั้น WordPress มักจะเป็นเป้าหมายของเหล่าแฮกเกอร์และสแปมบอท ผู้ต้องการสร้างเว็บไซต์สามารถใช้ประโยชน์กับ Joomla และ WordPress ได้มากมาย ทั้งยังมีความสามารถ ความยืดหยุ่น ซึ่งทำให้สะดวกในการใช้งานมากขึ้น ในบทความนี้เราจะแสดงให้เห็นว่าทำไมคุณถึงควรกลับมาใช้จูมล่า 3.3 ตัวใหม่ (และ 3.4 เร็วๆนี้) Multilingual websites: ในขณะที่ทำการติดตั้งจูมล่านั้น ผู้ใช้สามารถที่จะเลือกภาษาเพิ่มเติมจากภาษาอังกฤษได้ ซึ่งแตกต่างจากซอฟท์แวร์ตัวอื่นที่มีความจำเป็นที่จะต้องใช้ add-onในการสร้างภาษาที่หลากหลายให้กับเว็บไซต์ Mobile Bootstrap framework: จูมล่า 3.3 ใช้ Twitter Bootstrap Framework สำหรับระบบหลังบ้าน ซึ่งได้มีการออกแบบใหม่และสามารถเปิดใช้งานกับมือถือได้อย่างง่ายดาย ส่วนเทมเพลตบนหน้าเว็บไซต์และระบบหลังบ้านนั้นสามารถเปิดใช้งานรองรับทุกหน้าจอโดยอัตโนมัติ The Install from Web feature: ผู้ใช้สามารถติตตั้ง …

เหตุผลที่เปลี่ยนจาก WORDPRESS มาเป็น JOOMLA! Read More »

5 ขั้นตอนการทำงาน เพื่อให้ธุรกิจคุณประสบความสำเร็จในโลกออนไลน์

ออนไลน์และการตลาด หลังจาก online เว็บไซต์แล้วทีมการตลาดออนไลน์จะเข้ามาวิเคราะห์และแนะนำการเพิ่มยอดผู้ชมด้วยช่องทางต่างๆที่เหมาะสมกับเป้าหมายที่ต้องการและความเหมาะสมของแต่ละประเภทธุรกิจ โดยใช้ Google Analytics วิเคราะห์การใช้งานของเว็บไซต์ใหม่รวมถึงการปรับปรุงเนื้อหาเพื่อเพิ่มยอดลูกค้าหรือ Conversion rate ให้สูงขึ้นเพื่อเพิ่มยอดขาย   กำหนดเป้าหมายและวางแผนงาน ก่อนที่เราจะลงมือสร้างเว็บไซต์จะเริ่มที่การพูดคุยกำหนดเป้าหมายการทำเว็บ การสร้างคุณค่าที่แตกต่างจากคู่แข่ง และการนำจุดแข็งทางธุรกิจมานำเสนอด้วยการจัดวางรูปแบบให้เป็นมืออาชีพ เพื่อให้เห็นภาพลักษณะเว็บไซต์ที่เราอยากจะนำเสนอได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้จะกำหนดฟังก์ชั่นการใช้งานเว็บและแผนที่เว็บไซต์ สำหรับวางแผนดำเนินงาน   ออกแบบเว็บไซต์ ในขั้นตอนนี้ Web designer จะนำ Layout, รูปแบบสี, รูปภาพประกอบ, Font, and UX/UI มาจัดวางเป็นไฟล์รูปโครงสร้างเว็บหน้าแรกเพื่อให้ลูกค้าเห็นภาพรวมทั้งหมด ในขั้นตอนนี้จะสามารถแก้ไขได้ไม่จำกัดจำนวนครั้งในระยะเวลา 15 วันทำการ ทางทีมงานจะทำการแก้ไขให้ภายใน 2 วันทำการหลังจากได้รับแจ้งแก้ไขแบบ เมื่อรูปแบบหน้าแรกของเว็บไซต์ได้รับการยืนยันแบบแล้ว ทีมงานจะทำการออกแบบรูปประกอบโครงสร้างหน้าอื่นๆตาม Package ที่ลูกค้าเลือก พัฒนาระบบ เว็บไซต์จะถูกพัฒนาให้รองรับการแสดงผลบนทุกอปกรณ์ไม่ว่าจะเป็น มือถือ, แท็บเล็ต, หรือ PC ทุกเว็บจะถูกพัฒนาด้วย HTML5/CSS รุ่นล่าสุดภายใต้มาตรฐานคุณภาพที่รองรับการทำ SEO (Search Engine Optimization) …

5 ขั้นตอนการทำงาน เพื่อให้ธุรกิจคุณประสบความสำเร็จในโลกออนไลน์ Read More »

อยากให้โชว์เป็น featured image แต่ไม่อยากให้โชว์ในโพสต์

เราอยากให้ภาพโชว์เป็น thumnail เ่ท่านั้น มันมี อ๊อพชั่น featured image ให้แล้ว แต่ปัญหาคือ ถ้าดึง featured image มาให้แสดง ภาพมันก็จะอยู่ในโพสต์ด้วย ทำง้ยไม่ให้มันโชว์ในโพสต์อะครับ เรามีคำตอบ ลบโค้ดที่ไม่ต้องการออก 1.เปิด wp-content\themes\EducationTime\post-single.php 2.ลบโค้ด โค๊ด: <?php if(has_post_thumbnail())  { the_post_thumbnail( array($theme->get_option(‘featured_image_width_single’), $theme->get_option(‘featured_image_height_single’)), array(“class” => $theme->get_option(‘featured_image_position_single’) . ” featured_image”) ); } ?> ภาพใน Feture Image ก็จะไม่มาแสดงในโพสต์ของเรา ง่ายยิ่งกว่าพลิกฝ่ามือ

การเขียนบทความด้วยWordPress

จากบทความ รู้จักโครงสร้างของ wordpress เมื่อรู้จักโครงสร้างของ WordPress กันแล้ว คราวนี้ก็มาเริ่มต้นเขียนบทความกันเลยครับ คุณสามารถเลือกอ่าน วิธีสร้างหมวดหมู่บทความใน WordPress  เพื่อทำความเข้าใจกับโครงสร้างหมวดหมู่ก่อนได้ครับ โดยการเขียนบทความใน WordPress นั้น จะคล้ายๆ กับการพิมพ์งานด้วยโปรแกรม Microsoft Word ที่ใช้พิมพ์งานทั่วๆ ไปนั่นเองครับ ซึ่งใครๆ ที่ใช้ Microsoft Word เป็นอยู่แล้ว ผมยืนยันว่าเมื่อลองเขียนบทความด้วย WordPress แล้ว จะรู้สึกว่า ง่ายมากๆ ครับ จะแตกต่างกันแค่การแทรกรูปภาพ หรือ VDO ลงไปเท่านั้น ซึ่งผมจะแนะนำต่อไป เกริ่นมาซะยาว มาเริ่มกันดีกว่าครับ 1. เข้าสู่ระบบหลังบ้านของ WordPress หรือหน้าจัดการเนื้อหา หรือหน้า Dashboard แล้วแต่จะสะดวกเรียกครับ ในที่นี้ผมเรียกหน้า Dashboard โดยเข้าผ่าน URL ประมาณนี้ http://www.ชื่อโดเมน.com/wp-admin กรอก username และ password …

การเขียนบทความด้วยWordPress Read More »

รู้จักโครงสร้างบทความของ WordPress รู้จักโครงสร้างบทความของ WordPress

ก่อนที่จะเริ่มลงมือทำเว็บไซต์ดัวย WordPress ผมอยากให้ลองศึกษาโครงสร้างของบทความว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง WordPress จะมีรูปแบบการเผยแพร่บทความอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบคือ 1. โพส Post (บทความทั่วไป) จะมีหมวดหมู่บทความ (Categrries) คลุมอยู่อีกชั้นหนึ่งเพื่อง่ายต่อการหาเนื้อหาที่คล้ายๆ กัน 2. Pages (บทความเหมือนบทความทั่วไป แต่นิยมเขียนแยกเป็นหน้าไม่ขึ้นกับหมวดหมู่ใดๆ)   จะเริ่มยังไง? 1. สร้างหมวดหมู่ก่อน Categories  ใน 1 เว็บไซต์คุณต้องคิดโครงสร้างคร่าวๆ ก่อน ว่ามีหมวดหมู่อะไรบ้าง โดยทั่วไป 1 เว็บจะมีประมาณ 3 หมวดหมู่ขึ้นไป เช่น ทำเรื่อง wordpress หมวดหมู่ที่เตรียมไว้ก็น่าจะมี 1.1 พื้นฐานเวิร์ดเพรส 1.2 WordPress Theme 1.3 WordPress Plugin ** คุณอาจจะเริ่มโดยการเขียนบทความก่อน แล้วจึงสร้างหมวดหมู่ก็ได้ ซึ่งในขณะที่กำลังเขียนบทความนั้น สังเกตุด้านขวามือจะมีแถบเมนูที่ชื่อ Categries และจะมีหมวดหมู่ที่ระบบสร้างไว้ให้คือ Uncategories หมายถึงอื่นๆ ไม่เข้าพวก …

รู้จักโครงสร้างบทความของ WordPress รู้จักโครงสร้างบทความของ WordPress Read More »

1.วิธีสร้างหมวดหมู่(categories)บทความใน wordpress

วิธีสร้างหมวดหมู่(categories)บทความใน wordpress การสร้างหมวดหมู่เพื่อจะจำแนกบทความที่เราเขียน ก่อนที่จะเขียนบทความเราต้องสร้าง Categories ก่อน หรืออีกวิธีการเพิ่มง่ายๆ เราจะสอนในออีกบทความ… โพสนี้ผมจะแนะนำวิธีสร้างหมวดหมู่บทความของ WordPress กันครับ การสร้างหมวดหมู่บทความใน wordpress นั้นทำได้ 2 ทางครับ จะเลือกทางไหนก็ได้ครับ สำเร็จได้เหมือนกัน 1. สร้่างเตรียมไว้ก่อนที่จะเริ่มต้นเขียนบทความ 2. สร้างระหว่างกำลังเขียนบทความ มาดูวิธีแรกกันนะครับ วิธีที่ 1 สร้างเตรียมไว้ก่อนการเขียนบทความ – เมื่อ login เข้าหน้า Dashboard แล้ว สังเกตุเมนูด้านซ้ายมือครับ ใต้เมนู Posts จะมีเมนูที่ชื่อ Categories ให้เลือกที่เมนู Categories – ตรงกลางจะเห็นช่องให้ใส่ชื่อหมวดหมู่ครับ (Add New Category) * ช่อง Name คื่อต้องใส่ชื่อของหมวดหมู่ที่ต้องการ * ชื่อ Slug จะเป็นชื่อที่จะแสดง URL * Parent …

1.วิธีสร้างหมวดหมู่(categories)บทความใน wordpress Read More »

วิธีการลงโปรแกรม Appserv และ WordPress

มาเริ่มกันเลยดีกว่า เราจะจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเป็น Web Server เพื่อสร้างเว็บ.. CMS ใช้ WordPress(น่าจะใช้ง่ายที่สุดแล้ว) WAMP ที่ใช้สร้าง web server คือ Appserv ก่อนอื่นต้องไป Download WordPress กับ Download Appserv ก่อน AppServ คือโปรแกรมที่รวบรวมเอา Open Source Software หลายๆ อย่างมารวมกัน โดยมี Package หลักดังนี้ – Apache – PHP – MySQL – phpMyAdmin ผู้พัฒนาเป็นคนไทยชื่อ ภาณุพงศ์ ปัญญาดี (apples) appserv เวอร์ชั่นล่าสุดที่ใช้กับ PHP5 คือ appserv 2.5.10 ไฟล์ที่ Download มาจะเป็นไฟล์ .exe ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์เพื่อ Install …

วิธีการลงโปรแกรม Appserv และ WordPress Read More »

การติดตั้ง WordPress (Manual)

ครั้งก่อนเราได้นำเสนอการติดตั้ง WordPress แบบอัตโนมัติโดยการใช้ lnw install ที่มักมีไว้ให้บริการตามโฮ้สอยู่แล้ว วันนี้เราลองมาติดตั้งแบบ manual หรืออัตโนมือกันบ้างนะคะ ขั้นตอนก็อาจจะต่างกันเล็กน้อย และใช้เวลานานกว่า เนื่องจากเราต้องอัพโหลดไฟล์ขึ้นไปเอง สร้างฐานข้อมูลเอง เชื่อมต่อฐานข้อมูลเอง แต่ขั้นตอนพวกนี้ถ้าเราฝึกทำจนเข้าใจแล้ว ก็จะไม่ได้ยุ่งยากอะไรค่ะ นั่งเล่นอย่างอื่นไป แป๊บเดียวก็เสร็จ แถมยังทำให้เรามีทักษะเพิ่มขึ้นในการใช้งานฐานข้อมูล และโปรแกรม Ftp ซึ่งวันใดวันหนึ่งข้างหน้าเราอาจจะจำเป็นต้องใช้ โดยเฉพาะหากต้องการที่จะย้ายโฮ้ส เป็นต้น (อ่านบทความเกี่ยวกับการย้ายโฮ้สต์) สิ่งที่ต้องเตรียม : โฮ้ส, อีเมลรายละเอียดการใช้งานโฮ้สติ้ง, โปรแกรม ftp (fileZilla), ไฟล์ WordPress, Internet และโดเมนเนมที่ชี้มายังโฮ้สเรียบร้อยแล้ว โดยปกติเราจะไม่ต้องทำอะไรเลยหากเราซื้อคู่กับแบบ โฮ้ส+โดเมน แต่หากเราซื้อแยก ก็ให้ไปเปลี่ยน Namesever ของโดเมนเราให้ชี้มาที่โฮ้สเราให้เรียบร้อยพร้อมใช้เสียก่อน ซึ่งอาจใช้เวลาไม่เกิน 24-48 ชั่วโมง อ่านวิธีตั้งค่า Nameserver ขั้นตอนหลักๆ ของการติดตั้ง WordPress แบบ Manual ดาวน์โหลดและแตกไฟล์ WordPress ไว้สำหรับอัพโหลด อัพโหลดไฟล์ WordPress …

การติดตั้ง WordPress (Manual) Read More »

Shopping Cart